งานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

รูปภาพชื่อ - สกุลตำแหน่ง
นางสาวธนพร วะปะแก้วหัวหน้างานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
นายพงษ์ศักดิ์ วงษ์ชมภูผู้ช่วยหัวหน้างานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
นางสาวศุภลักษณ์ รักษ์ณรงค์เจ้าหน้าที่งานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
หัวหน้าแผนกวิชาทุกแผนก / หัวหน้างานทุกงาน เจ้าหน้าที่งานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

เอกสารงานประกอบการประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

คู่มือการจัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ ๒
แนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ ๒
สรุปรวบรวมข้อมูล : ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 การดูแลแนะแนวผู้เรียน
สรุปรวบรวมข้อมูล : ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 ผู้เรียนมีสมรรถนะในการเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 ผลงานของผู้เรียนด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 ผลการแข่งขันทักษะวิชาชีพ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 ผลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.7ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)
ตัวบ่งชี้ที่ 1.8 การมีงานทำและศึกษาต่อของผู้สำเร็จการศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1_2.1.1 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1_2.1.2 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือ กำหนดรายวิชาเพิ่มเติม
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2_2.2.2 การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1_3.1.1 การจัดการเรียนการสอน
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1_3.1.2 การบริหารจัดการชั้นเรียน
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1_3.1.3 การพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2_3.2.1 การบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2_3.2.2 การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการสถานศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 การระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 การบริการชุมชนและจิตอาสา
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน หรืองานฟาร์ม
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 แหล่งเรียนรู้และศูนย์วิทยบริการ
ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการใช้งานด้านสารสนเทศภายในสถานศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 5.5 การเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน
(หลักสูตร ระยะสั้น ) ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 การดูแลแนะแนวผู้เรียน
(หลักสูตร ระยะสั้น )ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 ผู้เรียนมีสมรรถนะในการเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ
(หลักสูตร ระยะสั้น ) ตัวบ่งชี้ที่ 1.8 การมีงานทำและศึกษาต่อของผู้สำเร็จการศึกษา

งานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษามีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี้

  1. ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรในสถานศึกษา ได้มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ จุดหมายและหลักเกณฑ์ของการประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

  2. วางแผนดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาอย่างต่อเนื่อง และรองรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในและภายนอก

  3. ประสานงานกับฝ่ายต่างๆ แผนกวิชา และงานต่างๆ ในสถานศึกษารวมทั้งสถานประกอบการ บุคคล องค์กร และหน่วยงานภายนอก ในการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

  4. ประสานงานกับสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ในการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา

  5. ประสานงานและให้ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา

  6. จัดทำปฏิทินการปฏิบัติงาน เสนอโครงการและรายงานการปฏิบัติงานตามลำดับขั้น

  7. ดูแล บำรุงรักษา และรับผิดชอบทรัพย์สินของสถานศึกษาที่ได้รับมอบหมาย

  8. ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย


Copyright © 2017. All rights reserved.design By Narongrit Pooviangkaew (ครูติ๊ก)